ศูนย์การเรียนรู้ยาง-สำหรับบุคคลทั่วไป (การผลิตยาง)
ปี | เรื่อง | นักวิจัย/ผู้เขียน | แหล่งข้อมูล |
2567 | ความยากง่ายในการปฏิบัติตามกฏ EUDR ของอุตสาหกรรมยางแท่งในประเทศไทย | วรุดม แป้นดวง และ วรรณิศา อุทัยแสน | วารสารยางพาราปีที่ 45(3) เม.ย.-มิ.ย. 2567 หน้า 1-5 |
2564 | ผลของการใช้กรดฟอร์มิกและกรดซัลฟิวริกเป็นสารจับตัวยางที่มีความเข้มข้นต่างกัน 4 ระดับ ต่อสมบัติของยางแท่งเอสทีอาร์ 20 สมบัติการคงรูปของยางคอมพาวนด์ และสมบัติเชิงกลของยางหลังคงรูป | พิศิษฐ์ พิมพ์รัตน์, วรพงษ์ พูลสวัสดิ์ และ กรรณิการ์ สหกะโร | วารสารยางพาราปีที่ 42(2) เม.ย.-มิ.ย 2564 หน้า 11 - 23 |
2563 | ยางแผ่นรมควันแบบมัด อีกทางเลือกหนึ่งของผู้ซื้อ | ปรีดิ์เปรม ทัศนกุล | วารสารยางพาราปีที่ 41(4) ต.ค-ธ.ค 2563 หน้า 2-13 |
2561 | จาก GAP สู่ GMP ตอนที่ 2: การผลิตยางเครพบาง มาตรฐาน GMP | ปรีดิ์เปรม ทัศนกุล | วารสารยางพาราปีที่ 39(3) ก.ค.-ก.ย. 2561 หน้า 16-21 |
2560 | การผลิตยางเครพคุณภาพดี | ปรีดิ์เปรม ทัศนกุล | วารสารยางพาราปีที่ 38(4) ต.ค-ธ.ค 2560 หน้า 32-36 |
2559 | ยกระดับคุณภาพยางแผ่นรมควันไทยก้าวสู่มาตรฐาน GMP | ปรีดิ์เปรม ทัศนกุล | วารสารยางพารา ปีที่ 37(4) ต.ค.-ธ.ค 2559 หน้า 2-9 |
2558 | การทำยางแผ่นดิบให้เหมาะกับสถานการณ์ปัจจุบัน | ปรีดิ์เปรม ทัศนกุล | วารสารยางพาราปีที่ 36(1) ม.ค.-มี.ค. 2558 หน้า 9-24 |
2557 | ต้นทุนการแปรรูปยางขั้นต้นระดับโรงงาน | พัชรินท์ ศรีวารินทร์, ทินกร เพชรสูงเนิน, มณิสร อนันต๊ะ และ เอนก กุณาละสิริ | วารสารยางพาราปีที่ 35(3) ก.ค.-ก.ย. 2557 หน้า 20 - 29 |
2556 | แนวทางการลดต้นทุนการแปรรูปยางดิบ | ปรีดิ์เปรม ทัศนกุล และ จักรี เลื่อนราม | วารสารยางพาราปีที่ 34(4) ต.ค-ธ.ค. 2556 หน้า 2-17 |
2556 | การเก็บรักษายางแผ่นรมควันอัดก้อนในโกดังเก็บยาง | ปรีดิ์เปรม ทัศนกุล, จักรี เลื่อนราม, โกศล จริงสูงเนิน | วารสารยางพาราปีที่ 34(2) เม.ย.-มิ.ย. 2556 หน้า 11-19 |
2555 | การยกระดับมาตรฐานการผลิตยางแผ่นรมควันอัดก้อนด้วยระบบมาตรฐาน GMP | ปรีดิ์เปรม ทัศนกุล, จักรี เลื่อนราม, ณพรัตน์ วิชิตชลชัย, พิศิษฐ์ พิมพ์รัตน์, กิตติคุณ บุญวานิช, วราวุธ ชูธรรมธัช, สมจิตต์ ศิขรินมาศ | กรมวิชาการเกษตร |
2555 | คำแนะนำขอรับรองระบบคุณภาพโรงงานผลิตยางแผ่นรมควันอัดก้อน ปี 2555 | สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร | วารสารยางพาราปีที่ 33(2) เม.ย.-มิ.ย. 2555 หน้า 24-35 |
2555 | ผลเสียของการใช้น้ำหมักชีวภาพและน้ำส้มควันไม้ในการจับตัวยาง | ปรีดิ์เปรม ทัศนกุล | วารสารยางพาราปีที่ 33(2) เม.ย.-มิ.ย. 2555 หน้า 2-18 |